ชื่อไทย                     ฝรั่ง

ชื่อท้องถิ่น                 จุ่มโป่ (สุราษฎร์ธานี) ชมพู่ (ปัตตานี) มะก้วย (เชียงใหม่) มะก้วยกา มะมั่น                                        (ภาคเหนือ) มะกา (แม่ฮ่องสอน) มะจีน (ตาก) ยะมูบุเตบันยา (มาเล-นราธิวาส)                                 ยะริง (เชียงใหม่) ยามุ ยาหมู (ภาคใต้) สีดา (นครพนม) มะปุ่น   

ชื่อวิทยาศาสตร์          Psidium guajava L.

ชื่อวงศ์                         MYRTACEAE

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลักษณะทั่วไป   ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-5 เมตร

ลักษณะใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม เนื้อใบหนา หยาบ ใต้ท้องใบเป็นริ้ว เห็นเส้นใบชัดเจน ขนขึ้นนวลบาง

ลักษณะดอก ดอกแบบช่อ ช่อหนึ่งมีดอกย่อย 3 – 5 ดอก ดอกเล็ก สีขาวอมเขียวอ่อน กลีบเลี้ยงแข็ง

ลักษณะผล ผลทรงกลม รูปไข่ หรือรูปรี ผิว เกลี้ยง สีเขียว เนื้อในขาว รสหวาน กรอบ ผลสุกสีเหลือง มีเมล็ดเล็ก ๆ แข็งอยู่ภายในจำนวนมาก

ลักษณะเปลือก ผิวเปลือกต้นเรียบเกลี้ยง กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยมสภาพนิเวศวิทยา      

ระยะการออกดอกติดผล

เขตการกระจายพันธุ์

ฟลอริดา เม็กซิโก ทวิปอเมริกาใต้ ประเทศไทยมักเป็นพืชปลูก

การใช้ประโยชน์        

อาหาร,สมุนไพร

แหล่งข้อมูล : สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้ – กรมป่าไม้